-The verb be does not show action. It tells what someone or something is or is like.
The verbs 'am', 'is', and 'are' tell what someone or something is now.
I am a painter.
He is a painter.
You are a painter
He is a painter.
You are a painter
Was and were tell what someone or something was in the past.
-She was an artist.
-You were an artist.
-You were an artist.
-They were all artists.
-You were all artists.
-You were all artists.
Use am, is, and was with I, she, he and it.
-I am -it is -I was
-I was -she is -she was
-she was -he is -he was
-I was -she is -she was
-she was -he is -he was
-it was
is/am/are + was/were = เป็น อยู่ คือ
V.to be - is am are
V.to be ได้แก่ is am are ทั้งหมดแปลว่า เป็น,อยู่,คือ
is ก็แปลว่า เป็น,อยู่,คือ
am ก็แปลว่า เป็น,อยู่,คือ
are ก็แปลว่า เป็น,อยู่,คือ
แต่ทั้ง 3 คำนี้ก็มีความแตกต่างในการใช้งาน ต้องจำให้ดีนะครับ
is ใช้กับประธานเอกพจน์ เช่น He She It
Ex. He is a doctor.
เขาผู้ชายเป็นคุณหมอ
am ใช้ได้กับประธานแค่ I เท่านั้น
I am a student.
ฉันเป็นนักเรียน
are ใช้กับประธานพหูพจน์ เช่น You , We , They
We are boys.
พวกเราเป็นเด็กผู้ชาย
V.to be - is am are
V.to be ได้แก่ is am are ทั้งหมดแปลว่า เป็น,อยู่,คือ
is ก็แปลว่า เป็น,อยู่,คือ
am ก็แปลว่า เป็น,อยู่,คือ
are ก็แปลว่า เป็น,อยู่,คือ
แต่ทั้ง 3 คำนี้ก็มีความแตกต่างในการใช้งาน ต้องจำให้ดีนะครับ
is ใช้กับประธานเอกพจน์ เช่น He She It
Ex. He is a doctor.
เขาผู้ชายเป็นคุณหมอ
am ใช้ได้กับประธานแค่ I เท่านั้น
I am a student.
ฉันเป็นนักเรียน
are ใช้กับประธานพหูพจน์ เช่น You , We , They
We are boys.
พวกเราเป็นเด็กผู้ชาย
Verb to be ใช้ทำหน้าที่ช่วยกริยาตัวอื่นได้ดังนี้
1. วางไว้หน้ากริยาที่เติม Ing ทำให้ประโยคนั้นเป็น Continuous tense.
2. วางไว้หน้ากริยาช่อง 3 (เฉพาะสกรรมกริยา) ทำให้ประโยคนั้นเป็นกรรมวาจก(เอากรรมขึ้นต้นประโยค) มีสำเนียงว่า ถูก เช่น A glass is broken. แก้วถูกทำให้แตกเสียแล้ว เป็นต้น.
3. วางไว้หน้ากริยา สภาวมาลา Infinitive แปลว่า จะต้อง มีความหมายเป็นอนาคต เพื่อแสดงความจงใจ เช่น I am to see my home every year. ฉันต้องไปเยี่ยมบ้านของฉันทุกๆปี เป็นต้น.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น